การใช้ MICROSOFT EXCEL ในการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้าวิทยากร : อาจารย์ อนันต์ ดีโรจนวงศ์ที่ปรึกษาสมาพันธ์สมาคมอุตสาหกรรมสนับสนุน (A.S.I.A.)
ที่ปรึกษาเครือข่าย Lean Production สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น
ที่ปรึกษาอุตสาหกรรมการผลิตและโลจิสติกส์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ที่ปรึกษาสถานประกอบการดีเด่นโครงการ OPOAI กระทรวงอุตสาหกรรม MBA Logistics Management
20 มิถุนายน 256709.00 – 16.00 น.** โรงแรมโกลด์ ออร์คิด กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีฯ-สุทธิสาร)*สถานที่จัดสัมมนาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
กลยุทธ์ทางธุรกิจที่สำคัญในการผลิตสินค้า การพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้านั้น มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในธุรกิจการผลิตและการขายสินค้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากมีความไม่แน่นอนหรือความแปรปรวนในความต้องการสินค้าของลูกค้าอยู่เสมอและผู้ผลิตไม่สามารถควบคุมหรือจัดการให้อยู่ในความควบคุมได้โดยง่าย ดังนั้นการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้านั้นจะช่วยลดปัญหาเหล่านี้ลงได้ ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการสินค้าของลูกค้าตามหลักทางสถิติที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้ได้แนวทางในการผลิตและส่งมอบสินค้าได้ใกล้เคียงตามที่ลูกค้าต้องการมากที่สุดทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งจะส่งผลถึงศักยภาพที่ดีของธุรกิจได้อย่างชัดเจนและยั่งยืนตลอดไป ซอฟท์แวร์ของ Microsoft Excel เป็นเทคโนโลยีหรือเครื่องมือที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ความต้องการสินค้าของลูกค้าได้ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่นิยมในการใช้งานมาหลายปี รวมถึงเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ได้ง่าย เป็นที่รู้จักของผู้ใช้งานโดยทั่วไป ที่สำคัญคือมีฟังชั่นที่หลากหลายและเกี่ยวข้องกับการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้าให้เลือกใช้ได้จำนวนมาก เราจึงควรนำเครื่องมือดังกล่าวมาประยุกต์ใช้งานเพื่อให้เกิดข้อมูลสารสนเทศ เพื่อใช้ในการตัดสินใจและดำเนินงานทางธุรกิจให้เป็นเลิศได้
จดประสงค์1. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อผลิตสินค้าได้ใกล้เคียงปริมาณความต้องการของลูกค้ามากขึ้น2. สามารถนำผลการวิเคราะห์มาใช้ตัดสินใจในการผลิตสินค้าได้ตามปริมาณและส่งมอบสินค้าได้ทันเวลาที่ลูกค้าต้องการได้มากขึ้น3. นำผลการวิเคราะห์มาสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้วยการลดต้นทุนการผลิตสินค้าได้ โดยไม่ต้องผลิตสินค้ามากเกินความต้องการของลูกค้า ช่วยลดเวลาการใช้เครื่องจักรที่เกินความจำเป็น และลดเวลาซ่อมบำรุงเครื่องจักร รวมถึงลดเวลาการผลิตสินค้านอกเวลา (Over time) ได้อย่างเหมาะสม4. นำผลการวิเคราะห์เพื่อลดเวลาในการผลิตสินค้าได้ในกรณีที่มีคำสั่งซื้อมาก ๆหรือบ่อย ๆ หรือเป็นคำสั่งซื้อที่ไม่เสถียร5. ประยุกต์ผลการวิเคราะห์เพื่อลดปริมาณสินค้าคงคลังลงได้ ด้วยการเพิ่มรอบการหมุนเวียนสินค้าได้เร็วขึ้น รวมถึงทำให้ต้นทุนการถือครองสินค้าลดลงอย่างเหมาะสม
หัวข้อการอบรม เวลา 09.00-16.00 น.เวลา 09.00-10.30 น.- ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้า
- ประเภทของวิธีการพยากรณ์ขั้นพื้นฐาน
- คุณสมบัติที่ดี 8 ประการของการพยากรณ์ความต้องสินค้าของลูกค้า
- การกำหนดขอบเขตและระยะเวลาของการพยากรณ์อย่างได้ผล (Forecast Horizontal and Purpose)
10.30-10.45 น. พัก 15 นาที10.45-12.00 น.- ข้อมูลและขั้นตอนของการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้า (Data Collection & Preparation and Process)
- รูปแบบของความต้องการสินค้าของลูกค้า (Demand Trend)
- เทคนิคและวิธีการพยากรณ์ความต้องการสินค้าของลูกค้า
- Workshop เทคนิคและวิธีการพยากรณ์แบบต่าง ๆ ด้วย Microsoft Excel
12.00-13.00 น. พักทานอาหารกลางวัน 1 ชม.13.00-14.30 น.- เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณและอนุกรมเวลา (Quantitative & Time Series Forecasting)
- Workshop การพยากรณ์ข้อมูลเชิงปริมาณและอนุกรมเวลาด้วย Microsoft Excel
- การพยากรณ์ข้องมูลแบบเป็นฤดูกาล (Seasonal Trend Forecasting)
- Workshop การพยากรณ์ข้อมูลแบบเป็นฤดูกาลด้วย Microsoft Excel
14.30-14.45 น. พัก 15 นาที14.45-16.00 น.- การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Model)
- Workshop การพยากรณ์ข้อมูลการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายด้วย Microsoft Excel
- การวัดความถูกต้องของการพยากรณ์ (Measures of Forecast Error)
- Workshop การวัดความถูกต้องของการพยากรณ์
- การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA)
- Workshop การวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วย Microsoft Excel
ระยะเวลา 1 วัน จำนวนวันละ 6 ชั่วโมง เวลา 9.00 – 16.00 น.
วิธีการสัมมนา การบรรยาย การให้คำปรึกษา และตอบคำถาม
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหลัก ผู้จัดการโรงงาน-สำนักงาน/ ผู้บริหารระดับสูง-กลาง หัวหน้างาน ฝ่ายการตลาด ฝ่ายขาย ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายบริการลูกค้า ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า และผู้บริหารฝ่ายอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
ประกาศนียบัตร: บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัดรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ